ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ
แต่ละแบบก็มีการตั้งชื่อไม่เหมือนกัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของฟังก์ชันซึ่งเราจะไปดูว่าฟังก์ชันเอกซ์โพนเนนเชียลนั้นมีรูปแบบอย่างไร
ก็ต้องไปดูนิยามของมันครับ ว่านิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลนั้นเป็นอย่างไร อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ฟังก์ชันกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง คือ
ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป เมื่อ a,b,c
เป็นจำนวนจริงใดๆ และ
ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ
a , b และ c และเมื่อค่าของ a เป็นบวกหรือลบ
จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชัน y
= ax + b เมื่อ a = 0
จะได้ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y =
b ซึ่งมีชื่อเรียกว่า ฟังก์ชันคงตัว
(constant function) กราฟของฟังก์ชันคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน X
ตัวอย่างของฟังก์ชันคงตัวจากกราฟข้างต้นจะเห็นว่า เมื่อสัมประสิทธิ์ของ x
หรือ a
มีค่ามากขึ้น กราฟจะเบนเข้าหาแกน Y อ่านเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์และฟังชัน
คู่อันดับ
(Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ
เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย
(a, b) เรียก a
ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า
และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
ตัวแปร
: อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน
ค่าคงตัว : ตัวเลขที่แททนจำนวน เช่น 1, 2
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนตรรกยะ
(rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์
และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้จำนวนอตรรกยะ (irrational number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนในรูป อ่านเพิ่มเติม
จำนวนจริง
จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ ได้แก่
-
เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย
I = {1,2,3…}
-
เซตของจำนวนเต็มลบ เขียนแทนด้วย I- เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…} อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ
ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน
และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป
เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
(Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ
หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน
และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป
หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ อ่านเพิ่มเติม
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน
(Union)
ยูเนียน
(Union) มีนิยามว่า
เซต A ยูเนียนกับเซต
B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต
A หรือ เซต B
หรือทั้ง A
และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪
B
สับเซตและเพาเวอร์เซต
สับเซต
(Subset)
ถ้าสมาชิกทุกตัวของ
A เป็นสมาชิกของ
B แล้ว
จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ
B จะเขียนว่า
เซต
A เป็นสับเซตของเซต
B แทนด้วย A
⊂
B
วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
เอกภพสัมพทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
คือ เซตที่กำหนดขอบเขตของสิ่งที่ต้องการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นเซตที่ใหญ่ที่สุด
โดยมีข้อตกลงว่า ต่อไปจะกล่าวถึงสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น
จะไม่มีการกล่าวถึงสิ่งใดที่นอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กำหนดขึ้นนี้
โดยทั่วไปนิยมใช้สัญลักษณ์ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ อ่านเพิ่มเติม
เซต
เซต
(อังกฤษ: set) ในทางคณิตศาสตร์นั้น
อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ ไว้รวมกันทั้งชุด
แม้ว่าความคิดนี้จะดูง่ายๆ
แต่เซตเป็นแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคณิตศาสตร์สมัยใหม่
การศึกษาโครงสร้างเซตที่เป็นไปได้ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีการตั้งชื่อไม่เหมือนกัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของฟังก์ชันซึ่งเราจะไปดูว่าฟั...
-
ยูเนียน ( Union) ยูเนียน ( Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A ...
-
สับเซต ( Subset) ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่า เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂...
-
จำนวนตรรกยะ ( rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้จำนวนอ...